วิสัยทัศน์ (Vision)
"กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงสวัสดิการ พัฒนาสู่การพึ่งพาตนเอง บนพื้นฐานการมีส่วนร่วม"
พันธกิจ (Mission)
ขับเคลื่อนการพัฒนาสังคม การจัดสวัสดิการสังคม การสังคมสงเคราะห์ การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ด้วยการบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / ยุทธศาสตร์ (สสว.3 กระทรวง กรม ฯลฯ)
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3
|
|
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
|
แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
วิสัยทัศน์
พันธกิจ
ค่านิยมองค์การ
ประเด็นยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ของสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์วิสัยทัศน์
พันธกิจ
ค่านิยมองค์การ
ประเด็นยุทธศาสตร์
|
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
|
|
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
|
วิสัยทัศน์"สตรีและครอบครัวมั่นคง สังคมเสมอภาค"ค่านิยม"มืออาชีพ จริยธรรม ภาวะผู้นำ ทำงานเป็นทีม"พันธกิจ
วัฒนธรรมองค์กร"จิตอาสา สื่อสารสร้างสรรค์ พัฒนาตนเองและองค์กร"จิตอาสา หมายถึง การเป็นผู้ให้ เสียสละ สมัครใจให้บริการ ช่วยเหลือสังคมเพื่อประโยชน์ส่วนรวมสื่อสารสร้างสรรค์ หมายถึง การสื่อสารที่ถูกต้องเป็นจริง สร้างการมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกันพัฒนาตนเองและองค์กร หมายถึง การใส่ใจใฝ่เรียนรู้ ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะของตนเองและองค์กร สามารถบริหารความเสี่ยงอย่างมีธรรมาภิบาล
|
กรมกิจการผู้สูงอายุ |
|
กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ
|
|
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
|
วิสัยทัศน์ พันธกิจ
ภารกิจ อำนาจหน้าที่
ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของ มนุษย์ พ.ศ. 2558 ระบุให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ มีภารกิจ อำนาจหน้าที่ และโครงสร้าง ดังนี้
ภารกิจ อำนาจหน้าที่
|
การเคหะแห่งชาติ
|
|
สำนักงานธนานุเคราะห์
|
วิสัยทัศน์ เป็นโรงรับจำนำเพื่อสังคม บริการด้วยนวัตกรรมเเละเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
ปรัชญา “บริการดี มีนวัตกรรม รับผิดชอบ เชื่อถือได้” พันธกิจของเรา สนองนโยบายรัฐในการสร้างโอกาส การเข้าถึงการรับจำนำด้วยอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสม เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่เดือดร้อนทางการเงินเฉพาะหน้ามุ่งเน้นการเป็นโรงรับจำนำเพื่อสังคม
ดำเนินธุรกิจการรับจำนำด้วยการบริการด้วยใจ มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อเป็นผู้นำด้านการรับจำนำ
ยกระดับมาตรฐานการรับจำนำ ด้วยความเชี่ยวชาญ โปร่งใส และตรวจสอบได้
บริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล เพื่อสนับสนุนการเป้นโรงรับจำนำเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน
|
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน)
|
วัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2543 วัตถุประสงค์ (1) สนับสนุนและให้การช่วยเหลือแก่องค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชนเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ การพัฒนาอาชีพ การเพิ่มรายได้ การพัฒนาที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของสมาชิกในชุมชนทั้งในเมืองและชนบท โดยยึดหลักการพัฒนาแบบองค์รวมหรือบูรณาการและหลักการพัฒนาที่สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมเป็นแนวทางสำคัญ ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและประชาสังคม (2) สนับสนุนและให้การช่วยเหลือทางการเงินแก่องค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชน (3) สนับสนุนและให้การช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาองค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชน ตลอดจนประสานงานการสนับสนุนและให้การช่วยเหลือดังกล่าวจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน (4) ส่งเสริมและสนับสนุนและสร้างความร่วมมือขององค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชนทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด และระดับประเทศ อำนาจหน้าที่ (1) ประสานงานการพัฒนาองค์กรชุมชนของหน่วยงานต่าง ๆ ให้เข้าถึงชุมชนตามความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง (2) ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับองค์กรชุมชนและการพัฒนาองค์กรชุมชน (3) ส่งเสริมและแนะนำให้องค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชนมีบทบาทที่เหมาะสมในการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนให้ดีขึ้น รวมถึงการพัฒนากิจกรรมในเชิงธุรกิจ (4) รับรองสถานภาพการเป็นองค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชน เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากกิจการที่อยู่ในอำนาจของสถาบัน (5) ให้สินเชื่อแก่องค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชน (6) ให้บริการฝึกอบรม สัมมนา หรือการเรียนรู้ในรูปแบบอื่น ๆ แก่องค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชนให้สามารถพัฒนาการบริหารจัดการในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (7) จัดหาเงินทุนเพื่อใช้ในการดำเนินงานของสถาบัน (8) ร่วมลงทุนกับองค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชน สถาบันการเงิน และองค์กรหรือนิติบุคคล โดยการร่วมลงทุนรวมกันทั้งหมดต้องไม่เกินร้อยละสามสิบของเงินกองทุนของสถาบันและการร่วมลงทุนกับองค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชน สถาบันการเงิน และองค์กรหรือนิติบุคคลรายหนึ่งรายใดต้องไม่เกินร้อยละห้าของเงินกองทุนของสถาบัน เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี (9) จัดให้ได้มา จำหน่ายไป ทำนิติกรรม หรือดำเนินการอื่นใดเกี่ยวกับบรรดาสิทธิในทรัพย์สินทั้งในและนอกราชอาณาจักร (10) กู้หรือยืมเงินภายในและภายนอกราชอาณาจักร (11) ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุน (12) ตั้งตัวแทนหรือนายหน้า มอบหมายหรือว่าจ้างให้บุคคลอื่นประกอบกิจการต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของสถาบัน (13) รับเป็นตัวแทนหรือนายหน้า รับมอบหมายหรือรับจ้างบุคคลอื่นเพื่อประกอบกิจการต่าง ๆ ภายในขอบวัตถุประสงค์ของสถาบัน (14) กระทำการอื่นใดเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสถาบัน การเข้าร่วมลงทุนในกิจการตาม (8) การกู้ยืมเงินตาม (10) และการออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุนตาม (11) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด อำนาจหน้าที่ของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ตามพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551 (1) กำหนดข้อบังคับการอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจัดประชุมในระดับชาติ ระดับจังหวัดและระดับตำบลของสภาองค์กรชุมชนตำบลเป็นเงินอุดหนุนทั่วไปตามควรแก่กรณี (2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดตั้งและพัฒนากิจการของสภาองค์กรชุมชนตำบล
|